myRSS by MyReadyWeb.com http://www.myreadyweb.com/ ข้อมูลล่าสุดของบทความ en-us ฟรี!! เว็บสำเร็จรูป สร้างเว็บ ทําเว็บ สร้างเว็บไซต์ ทําเว็บไซต์ รับทําเว็บไซต์ ทำเว็บ การสร้างเว็บไซต์ http://www.myreadyweb.com/ http://www.myreadyweb.com/images/front/logo-print.jpg 240 66 ทําเว็บ สร้างเว็บ ด้วยสุดยอดระบบ เว็บสำเร็จรูป การสร้างเว็บไซต์ ทําเว็บไซต์ จะเป็นเรื่องง่ายๆ ฟรี สร้างเว็บ ทำเว็บ สร้างเว็บไซต์ ที่ MyReadyWeb.com วิธีการติดตั้งถังบำบัดน้ำเสีย http://natthadon-sanengineering.myreadyweb.com/article/topic-26691.html <span style="font-size: 12px"><strong><span style="font-family: tahoma, geneva, sans-serif">เรามารู้ หลักเกณฑ์ <span style="color: #800000">การติดตั้งถังบำบัดน้ำเสีย</span> ที่ปลอดภัยสำหรับถังของเรากัน</span></strong></span><br /> <br /> <br /> <span style="color: #ff8c00"><strong>เริ่มกันเลย &gt;&gt;&gt;</strong></span><br /> <br /> &nbsp;<span style="language: th">1. ตรวจสอบพื้นที่หน้างาน สำหรับการติดตั้งถังบำบัดน้ำเสีย</span><br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;<span style="language: en-US">&ntilde;</span> <span style="language: th">ตรวจสอบทางเข้า-ออก ของโครงการ<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -&nbsp; </span><span style="language: th">ความสูงรวมของรถส่งและถัง สามารถเข้าพื้นที่หน้างาน ได้หรือไม่&nbsp; เป็นต้น</span><br /> <span style="language: th">2. ตรวจสอบโครงสร้างฐานรากสำหรับการลงถังบำบัดน้ำเสีย</span><br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <span style="language: en-US">&ntilde;</span> <span style="language: th">ความเหมาะสมของโครงสร้างฐานราก โดยวิศวกรหน้างาน</span><br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <span style="language: en-US">&ntilde;</span> <span style="language: th">พื้นฐานราก ต้องได้ระนาบแนวราบ&nbsp; โดยปราศจากสิ่งกีดขวาง เช่น เศษอิฐ เศษปูน ไม้ </span><br /> <span style="language: th">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; และ ต้องไม่มีน้ำขัง (กรณี มีน้ำใต้ดิน ต้องทำการสูบออกก่อน ที่จะทำการลงถัง)</span><br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <span style="language: en-US">&ntilde;</span><span style="language: th"> ขนาดของหลุมสำหรับลงถัง ขึ้นอยู่กับขนาดของถังบำบัดน้ำเสียที่เลือกใช้ </span><br /> <span style="language: th">3. ตรวจสอบทิศทางการไหลของน้ำ และระดับท่อ ของโครงการ</span><br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <span style="language: en-US">&ntilde;</span> <span style="language: th">ทิศทางการไหลของน้ำ</span><br /> <span style="language: th">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -&nbsp; น้ำเสียจากอาคาร&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;ไหลสู่&nbsp;&nbsp; ถังบำบัดน้ำเสีย&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;ไหลสู่&nbsp;&nbsp; ท่อระบายน้ำสาธารณะ<br /> &nbsp;&nbsp; </span>&nbsp; <span style="language: en-US">&ntilde;</span> <span style="language: th">ความลาดเอียง ของระดับท่อ&nbsp; ไม่น้อยกว่า 1:100&nbsp;</span><br /> <span style="language: th">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -&nbsp; ระดับท่อน้ำออกจากถัง ต้องอยู่สูงกว่า ระดับน้ำในบ่อพักน้ำทิ้ง ไม่น้อยกว่า 20 ซม.</span><br /> <span style="language: th">4. การเดินท่อภายในระบบบำบัดน้ำเสีย และขั้นตอนการลงถัง</span><br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <span style="language: en-US">&ntilde;</span> <span style="language: th">นำถังลงหลุม ที่จัดเตรียมไว้ </span>&nbsp;<span style="language: th">ทำการเ</span><span style="language: th">ติมน้ำใส่ถัง โดยเฉลี่ยแต่ละช่องเท่าๆ กัน </span><br /> <span style="language: th">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; และเททราย โดยรอบถัง ต่ำกว่าระดับท้องท่อต่ำสุด ประมาณ 10 ซม.</span><br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <span style="language: en-US">&ntilde;</span> <span style="language: th">ทำการต่อท่อภายในระบบบำบัดน้ำเสีย<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -&nbsp; </span><span style="language: th">ท่อระบายอากาศ ต่อขึ้นที่สูง&nbsp;<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; -&nbsp; ท่อจ่ายอากาศจากเครื่องเติมอากาศ(ถ้ามี)&nbsp; </span><br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <span style="language: en-US">&ntilde;</span> <span style="language: th">เทคอนกรีตรัดฝาถัง&nbsp; ขนาด 1 </span><span style="language: en-US">x 1 </span><span style="language: th">เมตร หนา 10 ซม. ขัดปรับพื้นให้เรียบ เสมอระดับฝาถัง </span><br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <span style="language: en-US">&ntilde;</span> <span style="language: th">ปรับพื้นสภาพหน้างานเป็นสนามหญ้าหรือสวนหย่อม ขึ้นอยู่กับทางโครงการดำเนินการ</span><br /> &nbsp;<br /> <strong><span style="color: #ff8c00">เรามาดูข้อควรระวังกัน <span style="font-size: 20px">....</span></span></strong><br /> <span style="language: th">&nbsp;- ติดตั้งในพื้นที่สนามหญ้า</span><br /> <span style="language: th">&nbsp;- ใช้ทราย ในการกลบรอบถัง เท่านั้น ห้ามใช้ ดินเลน หรือวัสดุของแข็ง&nbsp; ในการฝังกลบถัง</span><br /> <span style="language: th">&nbsp;&nbsp; เนื่องจาก อาจทำให้ถังแตกเสียหายได้</span><br /> <span style="language: th">&nbsp;- ไม่ควรฝังถัง ลึกเกิน 30 ซม. หากต้องการฝังถังลึกเกินกว่าระดับนี้ ควรปรึกษาวิศวกร </span><br /> <span style="language: th">&nbsp;&nbsp;&nbsp; ของบริษัทฯ ก่อนดำเนินการ<br /> <br /> ตัวอย่างการติดตั้ง ถังบำบัดน้ำเสีย<br /> &nbsp; &nbsp;<img alt="" src="http://natthadon-sanengineering.myreadyweb.com/storage_upload/10/49650/uploads/images/%E0%B8%96%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%9A%E0%B8%B3%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B8%81%E0%B9%89%E0%B8%B21-250(1).jpg" style="width: 250px; height: 263px;" /><img alt="" src="http://natthadon-sanengineering.myreadyweb.com/storage_upload/10/49650/uploads/images/%E0%B8%96%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%9A%E0%B8%B3%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B8%81%E0%B9%89%E0%B8%B25-250(1).jpg" style="width: 200px; height: 263px;" /></span><img alt="" src="http://natthadon-sanengineering.myreadyweb.com/storage_upload/10/49650/uploads/images/%E0%B8%96%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%9A%E0%B8%B3%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B8%81%E0%B9%89%E0%B8%B215-300.jpg" style="text-align: center; width: 300px; height: 193px;" /><br /> <br /> Fri, 15 Mar 2013 16:26:00 +0700 คำแนะนำและการดูแลรักษาถังบำบัดน้ำเสีย http://natthadon-sanengineering.myreadyweb.com/article/topic-26693.html <span style="font-size: 12px"><strong>คำแนะนำการใช้งานและการดูแลรักษาระบบบำบัดน้ำเสีย<br /> <br /> ระบบบำบัดน้ำเสีย ที่ทาง วิศวกรของห้างฯ กล่าวถึง ได้แก่<br /> <span style="color: #800000">ถังดักไขมันและ ถังบำบัดน้ำเสีย </span>นั่นเอง<br /> <br /> <br /> <span style="color: #696969"><strong>เรามาดู ข้อหลักของการดูแลถังดักไขมัน&nbsp;กันก่อนเลย...</strong></span><br /> <br /> &nbsp;กรณี เป็นถังดักไขมันใต้ซิงค์<br /> <span style="text-transform: none; vertical-align: baseline; language: th">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; - ระยะเวลาในการนำขยะในตะแกรงออกไปทิ้ง</span><br /> <span style="text-transform: none; vertical-align: baseline; language: th">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ควรทำทุกวันเพื่อป้องกันการกลิ่นเน่าเหม็น<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; และ<span style="text-transform: none; vertical-align: baseline; language: th">ควรตักแยกไขมันที่สะสมในถังดักไขมันทุกส่วนออกไปกำจัดทุกวัน</span><span style="text-transform: none; vertical-align: baseline; language: th"> เช่นกัน เพื่อป้องกันไม่ให้กลิ่นที่ไม่พึงประสงค์ ไปรบกวนตัวเราเองและคนรอบข้าง&nbsp; อีกทั้ง ยังทำให้ถังดักไขมันของเรา มีการทำงานที่ดีขึ้นด้วย (ไม่อุดตัน ,น้ำไหลสะดวก)</span></span><br /> <br /> <br /> <span style="text-transform: none; vertical-align: baseline; language: th">กรณี ที่ใช้ถังดักฝังดิน&nbsp;<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</span><span style="text-transform: none; vertical-align: baseline; language: th">&nbsp;&nbsp; - <span style="text-transform: none; vertical-align: baseline; language: th">ควรแยกเศษอาหารและขยะ ออกทิ้งก่อน การล้างภาชนะ</span><br /> <span style="text-transform: none; vertical-align: baseline; language: th">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; เพื่อไม่ใช้ เศษอาหารและขยะเหล่านั้น ไปหมักหมมอยู่ในถัง ซึ่งจะส่งผลให้ถังของเรามีกลิ่นมาก และอาจทำให้ท่อน้ำเสียอุดตัน อีกด้วย</span></span><br /> <br /> <span style="color: #8b4513"><strong>ส่วนการดูแลรักษา ที่ทั้งถังดักไขมันและถังบำบัดน้ำเสีย สิ่งที่ต้องทำเหมือนกัน&nbsp;ได้แก่ ??&nbsp;</strong></span><br /> <br /> <span style="text-transform: none; vertical-align: baseline; language: th">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ไม่ควรทิ้งเศษสิ่งแปลกปลอมต่างๆที่ย่อยสลายไม่ได้</span><span style="text-transform: none; vertical-align: baseline; language: th"> เช่นถุงพลาสติก ผ้าอนามัย เป็นต้น&nbsp;เหตุผลเดียวกับถังดักไขมันฝังดินเลย มีกลิ่น&nbsp;ท่ออุดตัน แถมถังของเรา ยังเต็มเร็วขึ้นอีก</span></strong></span><br /> <br /> <div style="text-align: justify"> <span style="font-size: 12px"><strong><span style="text-transform: none; vertical-align: baseline; language: th"><span style="text-transform: none; vertical-align: baseline; language: th">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การใช้น้ำยาล้างห้องน้ำ</span><span style="text-transform: none; vertical-align: baseline; language: th"> ไม่ควรใช้น้ำยาล้างห้องน้ำ หรือน้ำยาฆ่าเชื้อโรคที่มีความเข้นข้น มากเกินไป และล้างห้องน้ำถี่เกินไป&nbsp;<br /> &nbsp;ระยะเวลาที่เหมาะสมในการล้างห้องน้ำ ควรจะเป็นสัปดาห์ละ 1 ครั้ง แต่ถ้าดูแล้วห้องน้ำของเราเอง สกปรกมาก ก็อาจจะซัก 3-4 วันครั้ง&nbsp; เนื่องจาก น้ำยาเข้มข้น จะส่งผลต่อการเจริญเติบโตของเชื้อจุลินทรีย์(เชื้อที่บำบัดน้ำเสีย)&nbsp;ทำให้ตายลง ถังของเรา&nbsp;จะเสิ่อมประสิทธิภาพลงเช่นกัน (เป็นสาเหตุหนึ่ง ที่ทำให้ถังมีกลิ่นเหม็น)</span><br /> &nbsp;</span><br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ที่สำคัญ ควรทำการสูบกำจัดตะกอนในส่วนเกรอะของถัง&nbsp;อย่างน้อยปีละ 1&nbsp; ครั้ง<br /> เนื่องจาก&nbsp;ในถังมีถังตะกอนที่ย่อยสลายไม่ได้และ ย่อยสลายได้&nbsp;ส่งผลให้ถัง(ส้วม) เต็ม&nbsp;ทำให้ปริมาตรถังน้อยกว่าความเป็นจริง ถังเราจึงมีประสิทธิภาพลดลง (ส่วนนี้ ก็เป็นอีกสาเหตุของ ถังมีกลิ่นเหม็นเช่นกัน)&nbsp;<br /> หน่วยงานที่ ทำหน้าที่ด้านนี้ ก็คือเทศบาล นั่นเอง&nbsp;<br /> และ ข้อแนะนำอีกข้อ คือ ระหว่างสูบตะกอนนั่น ควรรีบเติมน้ำกลับเข้าไปด้วย เพื่อป้องกัน แรงดันจากดินด้านข้าง ดันถัง ทำให้ถังแตกเสียหายได้<br /> <br /> <span style="text-transform: none; vertical-align: baseline; language: th">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ควรตรวจสอบท่อระบายอากาศ(ซึ่งจำเป็นต้องต่อขึ้นที่สูง เพื่อป้องกันกลิ่นรบกวนคนรอบข้าง) ว่ายังใช้การได้ดีอยู่หรือไม่<br /> มีการแตกหักชำรุด เสียหาย หรือไม่ ซึ่งอาจทำให้น้ำขังภายในท่อ อากาศไม่สามารถระบายขึ้นที่สูงได้ หรือมีกลิ่นออกมาต่อที่แตกหักเสียหาย (ส่วนนี้ ก็เป็นอีกสาเหตุของ ถังมีกลิ่นเหม็นเช่นกัน)</span><br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ควรตรวจทางเข้า ออก ของน้ำเสีย(หรือทางไหลของน้ำ) มายังไหลสะดวกหรือไม่ มีสิ่งอุดตันภายในท่อหรือไม่ ถ้ามีการอุดตัน จะเป็นสาเหตุ หนึ่ง ที่อาจทำให้ กดน้ำส่วนโถส้วมไม่ลง เป็นต้น<br /> <br /> <br /> <span style="color: #ee82ee">&lt;&lt; ดูรายละเอียดมาก แต่ถ้าทำความเข้าใจได้แล้ว ก็จะไม่ยากเลย&nbsp;&gt;&gt;</span></strong></span></div> Sat, 16 Feb 2013 12:18:00 +0700 เทคนิคการตรวจเช็คระบบเบื้องต้น(หลังใช้งานเกิน1ปี,กลิ่นไม่พึงประสงค์) http://natthadon-sanengineering.myreadyweb.com/article/topic-26694.html หลังใช้งาน ถังไปแล้ว เกิน 1 ปี มักเกิดกลิ่นที่เราไม่พึ่งประสงค์<br /> เรา มารู้<strong>เทคนิคการตรวจสอบเบื้องต้น </strong>กัน<br /> <br /> <table width="100%"> <tbody> <tr> <td valign="top"> <span style="color: #a52a2a">เรามาเรียนรู้ เกี่ยวกับจุลินทรีย์ ที่ใช้บำบัดน้ำเสีย </span>กันก่อนซักนิด ...<br /> <br /> เมื่อเริ่ม ใช้ห้องน้ำ-ห้องส้วม นั่นหมายถึง จุลินทรีย์ ของเรา มีอาหาร เพื่อการเจริญเติมโตแล้ว<br /> และ&nbsp;กว่าจะโตเต็มที่ จน บำบัดน้ำเสีย ได้ประสิทธิภาพ มีระยะเวลา ร่วม 1 เดือน<br /> โดย ช่วงนี้ เราต้องอดทน กับกลิ่นที่ไม่พึ่งประสงค์ ทีมีกลิ่นค่อนข้างแรงอยู่<br /> <br /> แต่ถ้า ไม่มีอะไร ที่ส่งผลให้ จุลินทรีย์ของเรา ชะงักการเจริญเติมโต<br /> <br /> หลังจาก 1 เดือนแล้ว กลิ่นก็จะลดลง&nbsp;<br /> <br /> จนเมื่อมีการใช้งาน นาน วัน ขึ้น จนเลยหลัง 1 ปี&nbsp;(ตรงนี้ ขึ้นอยู๋กับการเลือกขนาดของถังด้วยว่าเหมาะสมและเพียงพอหรือไม่)<br /> <br /> &nbsp;เราก็ควร บำรุงรักษา ถังของเรา เพื่อให้ได้ประสิทธิภาพเหมือนเดิม<br /> ( ข้อนี้ ดูรายละเอียดได้ ที่ คำแนะนำการดูแลรักษาถัง น่ะ)<br /> <br /> หรือ กลิ่นอาจมาจากสาเหตุ อื่นๆ...<br /> &nbsp;ฝาปิดไม่สนิท .....&nbsp;&nbsp;&nbsp; ท่อระบายอากาศ มีรอยแตก กลิ่นจึงสามารถออกมาตามช่อง ต่างๆได้<br /> &nbsp;<br /> และ อีกข้อนึง&nbsp;&nbsp;เชื้อ(จุลินทรีย์) ตาย ก็คือ ไม่เจริญเติบโต จึงไม่มีจุลินทรีย์ มากิน สิ่งสกปรกนั่นเอง<br /> <br /> <br /> <span style="color: #ff8c00">ส่วนเทคนิคการตรวจสอบเบื้องต้น ก็...</span><br /> <br /> 1. บริเวณฝาถัง - ฝาปิดไม่สนิท<br /> 2. บริเวณท่อระบายอากาศ - มีรอยแตก<br /> 3. ท่อระบายน้ำสาธารณะ หรือ บริเวณจุดปล่อยน้ำทิ้ง -เชื้อจุลินทรีย์ ไม่เจริญเติบโต<br /> <br /> แต่ถ้า มีกลิ่น ย้อนเข้าห้องน้ำ นั่น&nbsp; ส่วนใหญ่ เป็นสาเหตุเบื้องต้น มักมาจาก การที่สุขภัณฑ์ ไม่มีตัว ยูแท็ป เพื่อดักกลิ่นไม่ให้ไหลย้อนกลับมา<br /> <br /> และอาจมาจากสาเหตุอื่นๆๆ อีก อันนี้ เราคงต้องมาดู กันเป็น case by case กันน่ะ<br /> <br /> แต่ที่สำคัญ ไม่ได้เกิดจาก ถังบำบัดน้ำเสีย น่ะ&nbsp; ....... อันนี้ ไม่ได้แก้ตัวให้ถังน่ะ แต่เป็นเรื่องจริง ......<br /> <br /> ป.ล. ถ้ามีปัญหาอื่นๆ สอบถามทาง วิศวกร ของห้างฯ ได้เลย&nbsp;&nbsp;&nbsp; เราเน้นบริการ ... มีความจริงใจ&nbsp; บริการเป็นกันเอง...น่ะ<br /> <br /> &nbsp;</td> </tr> </tbody> </table> Wed, 03 Oct 2012 10:18:00 +0700